สายลมที่หวังดี - สุเมธ

Geography

Phitsanulok province covers some 10,584.5 sq. km. The riverside provincial capital is 377 km. North of Bangkok. Phitsanulok is situated on the geographical and administrative line uniting the central and northern regions. Phitsanuloke, located in Central Northern Thailand is a modern city. Ideal as a stepping stone for the Northern visitors attractions including Sukothai.
Phitsanulok was the birthplace of King Naresuan the Great of Ayuthaya (reign : 1590 - 1605), and his brother Prince Ekathosarot. Phitsanulok has long been an important center for political and strategic reasons. Phitsanulok was a major center of recruitment when Ayuthaya waged war with Burma, and was the capital of Thailand for 25 years during the 1448-1488 reign of Ayuthaya’s King Boromtrailokanat.
The climate of Phitsanulok is generally hot and humid. It borders with Uttaradit in he North, Pichit in the south, Loei and Phetchabun in the East, Kamphaeng Phet and Sukhothai in the West. Covering an area of 10,815.8 sq.km., the province is divided into 9 Amphoes : Muang , Bang Rakam , Nakhon Thai , Phrom Priram , Wat Bot - BangKrathum , Chat Trakan , Noen MaPrang , Wang Thong

City Attraction

Wat Phra Si Rattana Mahathat his monastery commonly called by the inhabitants as "Wat Yai" is the most important monastery of Phitsanulok, the home of the famous Phra Buddha Chinnarat. It is located at the foot of Naresuan Bridge on the city side of the river.The monastery was built in the reign of Phra Maha Thamma Racha I (Phraya Lithai) In 1357 A.D. It houses the Phra Buddha Chinnarat regarded as the most beautiful Buddha image in Thailand. It is cast in the attitude of subduing evil. Later, in 1631, King Ekatosarot graciously bestowed some of his gold regalia to be beaten into gold - plate and applied them to the image worth his own hands, creating its most beautiful Buddha image. There are many other beautiful and noteworthy items in the monastery compound. The mother - of - pearl inlaid wooden doors of Vihara are especially splendid, and were built by King Boromkot in 1756 as a dedication to phra Buddha Chinarat. Behind the Vihara, there is a large Prang 36 meters high, with a staircase leading up to the niche containing the Buddha relics. In front of the Prang, there is Phra Attharos, and on the 9 room Vihara slope. There remains only the newly-renovated Buddha image.
Wat Ratchaburana nad Wat Nang Phya Is located on the eastern bank of the Nan river, near Wat Phra Si Rattana Mahathat to the south. These two monasteries, assumed to be built when Phitsanulok City was ruled by King Boromtrailokanat, have linking compounds. Wat Nang Phya has temple or bot but it is known for the so-called "Phra Nang Phya" votive tablets special fine form of the 3-head nagas decorated on their eaves.
King Naresuan the Great Shrine The shrine is located in the compound of the Phitsanulok Phittayakom school, and depicts the seated king ceremoniously declaring Ayuthaya's independence from Burma. The shrine was constructed on the site of the Channdra Palace where King Naresuan was born in 1555.

Wednesday, May 30, 2007

พระนางพญา 2514

จัดสร้างโดย วัดนางพญา จังหวัดพิษณุโลกสมัยพระอาจารย์ ถนอม เขมจาโร และพระครูบวรชินรัตน์
โดยมีสมเด็จพระวันรัต (ปุ่ ปุณณสิริ) ซึ่งค่อมาเป็น สมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เป็นประธานฝ่าย
สงฆ์และทรงจุดเทียนชัย พระอาจารย์ ไสว สุมโน เป็นเจ้าพิธี พระครูวามเทพมุนี เป็นประธานฝ่ายพราหมณาจารย์ และพล
โท สำราญ แพทยกุล แม่ทัพภาพที่ 3 เป็นประธานฝ่ายฆราวาสและหลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม
ทำพิธีดับเทียนชัย





วัตถุประสงค์
เพื่อจัดหาจตุปัจจัยในการสร้างพระอุโบสถวัดนางพญา เพื่อเป็นสถานที่ประกอบสังฆกรรมแห่งสงฆ์ โดย

เริ่มต้นดำเนินการเมื่อวันพุธ ที่ 29 มกราคม 2512 เวลา 9 นาฬิกา 12 นาที เป็นปฐมฤกษ์ตามพระฤกษ์สร้างพระอุโบสถที่ได้
รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และได้ประกอบพิธีมหาพุทธาภิเษกมหาจักรพรรดิ์ตราธิราชตามจารีต
ประเพณีโบราณาจารย์ เมื่อวันเสาร์ที่ 30 มกราคม 2514 ในวิหารวัดนางพญา จังหวัดพิษณุโลก

เจ้าอาวาสวัดนางพญาเล่าว่าพิธีพุทธาภิเษกในครั้งนั้นต้องเรียกว่าเป็นอภิมหาพิธีพุทธาภิเษกที่ยิ่งใหญ่ ที่สุดในยุคนั้นมีสุดยอดเกจิอาจารย์จากทั่วประเทศร่วมพิธี อาทิเช่น หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ ฉิมพลี หลวงปู่ฝั้น อาจาโร หลวงปู่ผาง หลวงปู่แหวน หลวงพ่อเกษม หลวงพ่อแพ เป็นต้น มีการถ่ายทอดเสียงออกอากาศทางสถานีวิทยุไปทั่วประเทศตลอดวัน
ตลอดคืน เริ่มตั้งแต่เวลา 06.05 น.ประกอบพิธีบวงสรวงครูบาจารย์ และอดีตเจ้าอาวาสตามด้วยพิธีถวายเครื่องสักการะบูชา
พระพุทธชินราช พิธีถวายเครื่องสักการะบูชาบวงสรวงสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พิธีถวายเครื่องสักการะบูชาพระคุณ พระรัตนตรัย พิธีบวงสรวงเทพยดาและพิธีบวงสรวงบูชาฤกษ์ เวลา 16.00 น. สมเด็จพระวันรัต ประธานฝ่ายสงฆ์ ทรงอธิษฐานจิตจุดเทียนชัย พระคณาจารย์จากทั่วประเทศนั่งปรกรอบมณฑลพิธีภาวนาปลุกเสกตลอดเวลา เวลา 19.30 น. จุดเทียนชัยมหาพุทธาภิเษก เวลา 02.00 น. เริ่มต้นสวดคาถาพระจักรพรรดิ์ตราธิราช พระคณาจารย์นั่งปรกเจริญภาวนาปลุกเสกตลอดรุ่ง และหลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอมได้กระทำพิธีดับเทียนชัย ณ เวลา 06.05 น. ในครั้งนั้นวัดนางพญาได้จัด
สร้างวัตถุมงคลหลายรายการที่สำคัญ คือ พระนางพญาเนื้อดินเผาที่พบอยู่ในขณะนี้ ตามประวัติการสร้างเป็นพระนางพญา ที่ถอดพิมพ์และผสมเนื้อพระนางพญาจากกรุพระนางพญามี 2 พิมพ์คือ พิมพ์ใหญ่ (เข่าโค้ง) และ พิมพ์เล็ก (สังฆาฏิ)

โดยอัญเชิญพระฤกษ์พระราชทานประดิษฐานด้านหลังพระนางพญารุ่นนี้ทุกองค์ปั้นกดพระด้วยมือ
และใช้ใบเลื่อยตัดออกทีละองค์ๆ สันนิษฐานว่าสร้างจำนวน 84,000 องค์

No comments: