สายลมที่หวังดี - สุเมธ
Geography
City Attraction
Saturday, April 21, 2007
Rain Forest Resort
Accomodation
All resort accommodation features comfortable beds, cable television, modern bathrooms and spacious living areas.Most have private verandas to give you the feeling of staying right within a rain forest. All cottages are located discreetly throughout the resort amongst trees and ponds and some overlook the waterfall and river. All all furniture and fittings have been designed with the atmosphere of the rain forest in mind. Attention has been given to the finer details in decor and facilities, ensuring that your stay is comfortable and memorable. Spoil yourself at the Rain Forest Resort.
The Rain Forest Resort offers luxury accommodation within the wonder and uniqueness of a Thai tropical rainforest. Situated near beautiful Kang Song Waterfall, the resort is surrounded by National and Historical Parks of Northern Thailand meaning that this pampered retreat is within the realms of the natural environment.
Facilities
Restaurant
The restaurant is designed like a large open tropical tree house with all tables having views of the rainforest. Spread over four levels, there are aquariums and greenery surrounding the central waterfall and pool. An extensive Thai menu is featured and the speciality is local freshwater fish. Hours: 8:00 am – 9.00 pm.
Coffee
A specialty of the Wang Thong district is its coffee and the restaurant features this on its menu. The Rain Forest and Rock Forest brands are a blend of Arabica and Robusta coffees and are popular with all patrons.
Rafting
Bookings for white water rafting can be made at the resort. Join these popular guided adventures down the rapids of the Khek River. With difficulty ranked at between levels 3 and 5, this adventure is serious fun! Available June – October.
Cycling
Bicycles are available at the resort for exploring the riverbanks and local villages.
Car Rental / Taxi Service
Self drive vehicles or all day touring taxis can be booked at the resort.
Thai massage
No Thai resort would be complete without a massage service and the Rain Forest Resort has excellent staffs who can provide you with a traditional Thai massage.
Contact
Rain Forest Resort 42 MU. 9 KANGSOPA WANGTHONG PHITSAULOK 65220 THAILAND
Tel:+662-6730966,+662-2119654, +662-6733322 Fax:+662-2119656
พระอัฏฐารส : Phra Attharos in Wat Yai
บริเวณหลังวิหารพระพุทธชินราช มีพระอัฏฐารส ซึ่งเป็นพระพุทธรูปยืนปางห้ามญาติสูง 18 ศอก สร้างในสมัยเดียวกับพระพุทธชินราช ราว พ.ศ.1800 เดิมประดิษฐานอยู่ในวิหารใหญ่แต่วิหารได้พังไปจนหมด เหลือเพียงเสาที่ก่อด้วยศิลาแลงขนาดใหญ่ 3 – 4 ต้น เรียกว่า “เนินวิหารเก้าห้อง”
ด้านหลังพระอัฏฐารส เป็นพระปรางค์ประธาน สร้างแบบสมัยอยุธยาตอนต้น ฐานย่อเหลี่ยมไม้ยี่สิบสันนิษฐานว่าเดิม
เป็นเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ (ดอกบัวตูม) ซึ่งถือว่าเป็นสถาปัตยกรรมแบบสุโขทัยแท้ ต่อมาถูกแปลงให้เป็นพระปรางค์ในสมัยอยุธยา
King Borommatrailokanat
King Borommatrailokanat (often short Trailok, 1431-1488) was king of Ayutthaya 1448-1488.
Born as Prince Ramesuan, he followed his father Boromma Ratchathirat II as king in 1448, then adopting the name Borommatrailokanat. In 1436 he moved his capital to Phitsanulok. Lanna had unsuccessfully besieged the town in 1459 and 1460, and also Sukhothai rebelled, weaking the northern boundary. The move of the capital was performed to strengthen his control in this area.
The traditional ministries of Thailand - the Kalahom for the military and the Mahatthai as the civilian duties - were introduced by Trailok. Also in his reign the hierarchies of the nobility were first codified, petty official having a sakdi na (field power, with one field measuring 1 rai = 0.16 acre) of 50 to 400, up to 100,000 for the uparat (hier-apparent). These structure were continued until the reforms of King Chulalongkorn at the end of the 19th century.
Don Chedi Monument in Suphanburi Province
Major Works of King Naresuan the Great
Pra Naresuan was born in Phitsanulok.
B.E.2107
Phitsanulok was under the force of Burma. King Burengnong directed key person to be hostages,one of them was Pra Naresuan, who was 9 years old, to live in Hongsavadee.
B.E.2112
On August, Burma was victorious on Ayuddhaya. King Burengnong appointed Pra Mahathammaracha to be king.
B.E.2114
King Mahathammaracha promoted Pra Naresuan to the position of Crown Prince governing Phitsanulok.
B.E.2124
After the decease of king Burengnong, King Angwa became recalcitrant Nantabureng, the new king of Burma, promoted Mangraikayauchava to the position of crown prince. Pra Naresuan attacked Kung Kingdom, and catch the prince of Thai Yai and send him to Hongsavadee.
B.E.2127
King Naresuan was proclaimed independent at Muang Kreang in May at 19.00 After that Ayuddhaya was in the war with King of Chaing Mai and Praya Pasim. The troops couldn’t get close to Ayuddhaya.
B.E.2128
The troops of Nantabureng went to Ayuddhaya. The troops of crown prince Mungraigayaochava had forced Kamphengphet but Pra Naresuan was fighting to gain Kamphengphet back.
B.E.2130
Hongsavadee troops surrounded Ayuddhaya for 5 month, the troops couldn’t attack with Ayuddhaya. So, King Nantabureng decided to go to Burma for retreat his troops. Then King Naresuan and his brother attacked with the navy troops, so that King Nantabureng came back urgently.
B.E.2133
King Mahathammaracha died in June. His age is 75 years old.
B.E.2133
Pra Naresuan promoted to be king when he was 35 years old and promote Pra Akathotsarot to be the crown prince. After that 4 months the Burmese crown prince took the soldiers to attack Ayuddhaya but they can’t fight with the troops of King Naresuan.
B.E.2135
The Burmese Crown Prince took soldiers to attack Ayuddhaya. King Naresuan and Pra Akatosarot led soldiers to Supanburi province to defend the capital. King Naresuan killed the Crown Prince of Burma on the elephant back. Therefore, won the war which would later be known as Yuttahatthi War.
B.E.2136
King Naresuan and Pra Akatosarot led soldiers to Kumpa and send to the King of Nakhonsrithammaraj. After that they attack Kampucha and forced it.
B.E.2137
The southern of Morn was forced by Ayuddhaya.
B.E.2138
King Naresuan and Pra Akatosarot led soldiers to Hongsavadee in December but the troops can’t get close to Hongsa. So they came back.
B.E.2142
King Naresuan and Pra Akatosarot led soldiers to Hongsavadee again but Hongsa was destroyed because King of Thong Ou attack before.
B.E.2143
After King Naresuan and Pra Akatosarot led soldiers to Thoug Ou and the troops can’t get close to there. He came back in May. In November, King Nantabureng died after that Burma spend to 3 troops.
B.E.2146
King Ang Wa promoted to be the King of Burma. In the name of The King Srihasuthammaracha.
B.E.2147
King Naresuan and Pra Akatosarot led soldiers to Chaing Mai for to attack Ang Wa but he was sick from decease.
B.E.2148
King Naresuan died at Muang Hang when he was 50 years old.
Reference : http://www.kingnaresuanmovie.com
Sappraiwan Grand Hotel and Resort
Facilities & Leisure
A variety of indoor and outdoor sports venue is one of the main features of Sappraiwan, Facilities include snooker, table tennis, fitness center, sauna, rafting (seasonal) and bikecycling or just take a big splash at the swimming pool. Enjoy a full range of recreation facilities at Sappraiwan Club House.
Accomodation
Contact
79 Moo 2 Mitraphab Road, Tambon Kaengsopha, Amphur Wangthong, Phitsanulok 65000
Tel & Fax : 66-55-293-293 Mobile : 66-81-533-7288, 66-81-533-7588
อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า : Phu Hin Rongkla National Park
แหล่งท่องเที่ยวในเขตอุทยานฯ
มีลักษณะเด่นที่แตกต่างจากแหล่งท่องเที่ยวอื่นๆ โดยแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
แหล่งประวัติศาสตร์
คือสถานที่ต่าง ๆ ที่อดีต ผกค. เคยใช้เป็นที่อยู่อาศัยประกอบกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งมีอยู่มากมายหลายแห่งและได้รับการดูแลรักษาให้อยู่ในสภาพเดิน เช่น
พิพิธภัณฑ์การสู้รบ (ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว) อยู่ใกล้กับที่ทำการอุทยานฯ เป็นสถานที่จัดแสดงนิทรรศการเกี่ยวกับประวัติศาสตร์การสู้รบ มีภาพแผนภูมิข้อมูล เอกสารเผยแพร่ลัทธิคอมมิวนิสต์ รวมทั้งมีนิทรรศการด้านธรรมชาติวิทยาภูหินร่องกล้าจัดแสดง นอกจากนี้ยังมีห้องประชุมจุคนได้ 80 คน ใช้ในการบรรยายสรุปหรือประชุมสัมนา และเป็นสถานที่นักท่องเที่ยวควรติดต่อขอข้อมูลก่อนเดินทางท่องเที่ยวในเขตอุทยานฯ
โรงเรียนการเมืองการทหาร อยู่ห่างจากที่ทำการอุทยานฯ 6 กิโลเมตร ใช้เป็นสถานที่ให้การศึกษาตามแนวทางของลัทธิคอมมิวนิสต์ มีบ้านฝ่ายต่าง ๆ และสถานพยาบาล เรียงรายกันอยู่อย่างเป็นระเบียบ
สุสาน ทปท. เป็นที่ฝังศพของนักรบทหารปลดแอกแห่งประเทศไทยที่เสียชีวิตจากการสู้รบกับทหารฝ่ายรัฐบาล ส่วนใหญ่จะอยู่ใกล้บริเวณลานเอนกประสงค์
กังหันน้ำ อยู่ตรงข้ามกับโรงเรียนการเมืองการทหาร
สำนักอำนาจรัฐ อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ห่างจากที่ทำการอุทยานฯ ประมาณ 3 กิโลเมตร เป็นสถานที่ดำเนินการทางการปกครอง พิจารณาลงโทษผู้กระทำผิด มีคุก สถานที่ทอผ้าและโรงซ่อมเครื่องจักรกล
หมู่บ้านมวลชน เป็นสถานที่อยู่อาศัย มีหลายหมู่บ้าน เรียงรายอยู่ในป่าริมทางที่ตัดมาจากอำเภอหล่มสัก
โรงพยาบาล อยู่ห่างจากสำนักอำนาจรัฐประมาณ 2 กิโลเมตร ปัจจุบันโรงพยาบาลรัฐถูกไฟไหม้หมดแล้ว ยังคงมีอุปกรณ์การแพทย์ตั้งแสดงไว้ที่ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว ]
This national park covers the total area of about 123 kms. from Phitsanulok provincial city. To reach the park is by taking Highway No. 12 (Phitsanulok - lomsak), at about km. 68 turn left at Ban Yaenng for a further distance of 24 kms. then turn right along the elevated road another 31 kms. The park area manily covers with ever green forest with beautiful waterfall and a vast plain of rock with cracks scattered all around . Further - more the place used to be a bloody battlle field due to the conflict in political idealism. Scars of fighting still can be seen from place to place. Tourists or visitors who want to stay over night are advised to make a prior reservation through the National Park Division, Forestry Department by Tel. 579-4842,579-0529
สกุลพระเครื่องเมืองพิษณุโลก : Amulets in Phitsanulok
เมืองพิษณุโลก มี พระพิมพ์นางพญา กรุวัดนางพญา เป็นสุดยอดพระเครื่อง ซึ่งเชื่อกันว่า พระนางวิสุทธิกษัตริย์ พระราชมารดาของสมเด็จ พระนเรศวรมหาราช ทรงสถาปนา ขึ้นมา เป็น หนึ่งในพระเบญจภาคี อันเป็นสุดยอดปรารถนาของชาวไทย และยังมี พระพุทธชินราช ใบเสมา ซึ่งเป็น หนึ่งในเบญจภาคีเนื้อชิน ยอดนิยมแห่งสยามประเทศ เป็นพระเครื่องที่เชิดหน้าชูตาของเมืองพิษณุโลก นอกจากนี้แล้ว พิษณุโลก ยังมีพระกรุสำคัญๆ ที่ควรค่าแก่การสะสมนิยมแสวงหาเกือบ ๒๑ กรุ กล่าวคือ
กรุวัดใหญ่ หรือ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ สถานที่ประดิษฐาน พระพุทธชินราช พระพุทธรูปที่มีพุทธลักษณะงดงามเป็นหนึ่งในสยาม
นอกจาก พระพุทธชินราชใบเสมา แล้ว ยังมี พระลีลาอัฏฐารส ซึ่งเป็น สุดยอดของพระกรุเนื้อชินเขียวสนิมไขไข่แมงดา ยอดนิยมของเมืองไทย ที่งดงามมาก พบบนเศียร และใต้ฐานพระอัฏฐารส (พระพุทธรูปสูง ๑๘ ศอก) ก่ออิฐถือปูน
ส่วน พระอัฏฐารส องค์โลหะ วัดวิหารทอง ติดพระราชวังจันทน์ ภายหลังอัญเชิญมาประดิษฐานที่วัดสระเกศ (ภูเขาทอง) ในปัจจุบัน และยังมี พระนางแขนอ่อน เนื้อดิน และเนื้อชิน ตลอดจน พระสามนางเนื้อดิน และสุดยอดพระเนื้อชินเงินที่มีพุทธคุณสูงส่ง เป็นที่นิยมแสวงหาและหาได้ยากเป็นยิ่งนักของกรุวัดใหญ่ คือ พระชินสีห์ กับ พระศาสดา
นอกจาก พระพิมพ์นางพญา ที่โด่งดังเป็นเอกอุ กรุวัดนางพญา แล้ว พิษณุโลกยังมีพระพิมพ์นางพญากรุอื่นๆ ซึ่งมีพุทธคุณสูงส่งเป็นที่นิยมแสวงหากันมากเช่นกัน อาทิ พระนางพญา กรุวัดโพธิญาณ (โรงทอ) ซึ่งเป็นอารามสำคัญแต่โบราณ ทางประตูเมืองทิศเหนือ ที่ ตาปะขาว หรือ พระอินทร์ (จำแลง) ได้มาอาสาช่วยปั้นและหล่อพระพุทธชินราชจนแล้วเสร็จงดงาม แล้วเดินออกจากเมืองพิษณุโลกทางประตูเหนือไปหายตัวบริเวณ บ้านเตาไห ซึ่งเป็นชุมชนโบราณที่มีโบราณสถานคือ เตาเผาไห ขนาดใหญ่สมัยสุโขทัยอยู่เป็นจำนวนมาก คล้ายๆ กับเตาทุเรียง สุโขทัย แต่เผาภาชนะที่ใหญ่กว่าประเภทไห
ปัจจุบันเรียกว่า วัดตาปะขาวหาย หรือ บ้านตาปะขาวหาย ต้นกำเนิด พระพิมพ์หลวงพ่อโต เนื้อดิน ที่แพงที่สุดในเมืองไทย หรือ พระพิมพ์รัศมีเนื้อผงสี่เหลี่ยม และ พระปิดตาพิมพ์สามเหลี่ยม เนื้อผงและโลหะ (พิมพ์หลวงปู่ศุข วัดป่าคลองมะขามเฒ่า ซึ่งเป็น สหธรรมิก กับ พระครูต่วน อดีตเจ้าอาวาสวัดตาปะขาวหาย) ได้มาเป็นประธาน สร้างมณฑปวัดตาปะขาวหายและได้สร้างและปลุกเสกบรรจุไว้ในพุทธเจดีย์ของวัดตาปะขาวหาย
พระนางพญา กรุวัดโพธิญาณ หรือ นางกรุโรงทอ เหตุที่เรียกว่า นางโรงทอ เนื่องจากขุดและนำดินจากพระเจดีย์วัดโพธิ์ ไปถมที่สร้างโรงงานทอผ้า รัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงกลาโหม (ปัจจุบันปิดกิจการแล้ว) ที่อยู่ติดวัด แล้วพบพระขึ้น ๒ พิมพ์ คือ พิมพ์มีหู กับ พิมพ์ไม่มีหู จึงเรียกว่า นางโรงทอ และยังพบ พระพุทธชินราชพิมพ์ซุ้มเส้นคู่ เนื้อชินเงิน อันงดงาม อีกด้วย
นอกจากนี้ยังมี พระนางพญา กรุวัดสุดสวาท ชื่อเป็นมงคลนาม ในทางเมตตามหานิยม สุดสวาทขาดใจรัก เป็นที่นิยมแสวงหากันมาก เรียกว่า บางครั้งหานางสุดสวาทของจริงดูได้ยากกว่านางวัดนางพญา เสียอีก
อีกกระแสหนึ่ง มีผู้รู้บางท่านบอกว่า พระนางสุดสวาทเป็นเพียงตำนานเรื่องเล่าขานเท่านั้นเอง เหมือนกับเรื่องเมืองลับแลนั่นเอง
ที่สำคัญวัดสุดสวาทนี้ ยังมี สกุลพระลีลาเนื้อชินที่มีพุทธศิลป์อันงดงามของเมืองพิษณุโลก คือ พระลีลาสุดสวาท หรือ บางท่านเรียกว่า ลีลาไก่เขี่ย ซึ่งเป็นพระลีลาคู่กับ พระลีลากรุวัดวังหิน เมืองพิษณุโลก
นอกจากนี้แล้ว ยังมี พระนางพญา กรุวัดวังมะสะ อ.พรหมพิราม ซึ่งมีตำนานเล่าขานว่า เป็นสถานที่หนึ่งที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงใช้ฝึกชายฉกรรจ์เพื่อเตรียมการในการกอบกู้เอกราชของชาติไทย และมีการพบ พระพิมพ์ยอดขุนพล เนื้อดิน ขึ้นจำนวนหนึ่ง บางครั้งนิยมเรียกกันว่า ขุนแผนเมืองพิษณุโลก และยังมี นางวัดจุฬามณี ซึ่งเป็นชุมชนโบราณแห่งแรกของเมืองพิษณุโลก มาตั้งแต่สมัยขอมเรืองอำนาจ
มีโบราณสถานที่สำคัญคือ ปรางค์ขอมโบราณ และพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์เนื้อหินทรายสีชมพู ปางสมาธิ นามว่า หลวงพ่อเพชร และเป็นพระอารามที่ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ซึ่งทรงประทับอยู่ที่เมืองพิษณุโลกเป็นเวลา ๒๕ ปี เพื่อป้องกันข้าศึกจากหัวเมืองเหนือ (พ.ศ.๒๐๐๖-๒๐๓๑) และทรงผนวช ที่วัดจุฬามณี นางวัดจุฬามณี มีพุทธคุณสูงส่งเชื่อกันว่าใช้แทนพระพิมพ์นางพญา วัดนางพญา ได้ ประกอบด้วย พิมพ์หน้าฤาษี หลังนาง พิมพ์ซุ้มขีด พิมพ์ชินราช หลังนาง พิมพ์นางหน้าเดียว พิมพ์นางสองหน้า หรือพิมพ์ตลก เป็นต้น
สกุล พระท่ามะปรางเงี้ยวทิ้งปืน กรุวัดท่ามะปราง ซึ่งนิยมแสวงหากันมาก เพราะมีพุทธคุณเข้มขลังศักดิ์สิทธิ์เป็นที่ประจักษ์ มาแต่อดีต แล้วพิษณุโลก ยังมี พระท่ามะปรางที่มีพุทธศิลป์ที่งดงามอีกหลายกรุคือ พระท่ามะปราง กรุวัดสะดือ พระท่ามะปราง กรุวัดใหญ่ ซึ่งมีพุทธศิลป์งดงามที่สุด
พระท่ามะปราง กรุวัดเจดีย์ยอดทอง ซึ่งมี พระเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ สถาปัตยกรรมศิลปะสุโขทัยที่งดงามและสมบูรณ์มากเป็นศาสนสถานที่สำคัญของอารามนี้
พระท่ามะปราง กรุวัดอรัญญิก ซึ่งเป็นอารามอรัญญวาสีมีพระเจดีย์ทรงลังกามาแต่ครั้งสมัยสุโขทัยเป็นราชธานี เป็นต้นกำเนิด พระพิมพ์ซุ้มอรัญญิก หรือ ซุ้มเสมาทิศ เนื้อดิน และเนื้อชิน หรือ พระร่วงเปิดโลก หรือ พื้นบ้านเรียกว่า พิมพ์ทิ้งดิ่ง และ นางอรัญญิก ตลอดจน พระซุ้มตำลึง เนื้อชินและเนื้อดิน ที่มีพุทธศิลป์อันงดงามเป็นยิ่งนัก
สกุลพระกรุเนื้อผงยอดนิยมเมืองพิษณุโลก คือ พระสิงห์ป้อนเหยื่อ หรือ พระฝักไม้ดำ พระฝักไม้ขาว กรุวัดสุนทรประดิษฐ์ อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก มีพุทธคุณดีเด่นทางเมตตามหานิยม และมหาอำนาจ
นอกจากนี้แล้ว ศิลปะพระเครื่องเมืองพิษณุโลก ยังมีสกุลพระกรุที่สำคัญสมัยสุโขทัยที่พบกันมากในพิษณุโลก และสุโขทัย ประเภท พระว่านหน้าทอง และ พระว่านหน้าเงิน กรุวัดใหญ่ กรุวัดราชบูรณะ กรุวัดอรัญญิก กรุเขาสมอแครง ซึ่งมีพระพิมพ์ชินราช เนื้อดิน และเนื้อชินที่มีพุทธศิลป์งดงามมาก เป็นต้น
สกุลพระเครื่องเมืองพิษณุโลก ถ้าจัด ๕ อันดับ หรือที่เรียกว่าเบญจะนั้นสามารถ ประมวลจัดลำดับ ยอดนิยม ในแต่ละประเภทที่น่าสนใจได้ดังนี้ คือ เนื้อชิน ยอดนิยมเมืองพิษณุโลก ประกอบด้วย พระพุทธชินราชใบเสมา พระพุทธชินสีห์ พระศาสดา พระลีลาอัฏฐารส และ พระนางแขนอ่อน กรุวัดใหญ่
เนื้อดิน ยอดนิยมเมืองพิษณุโลก ประกอบด้วย พระพิมพ์นางพญา วัดนางพญา นางวัดโพธิ์ (โรงทอ) พระท่ามะปรางเงี้ยวทิ้งปืน กรุวัดท่ามะปราง นางแขนอ่อน (เนื้อดิน) กรุวัดใหญ่ และ นางวัดจุฬามณี กรุวัดจุฬามณี
เนื้อผง ยอดนิยมเมืองพิษณุโลก ประกอบด้วย พระพิมพ์สิงห์ป้อนเหยื่อ (พระฝักไม้ดำ หรือ พระฝักไม้ขาว) กรุบางระกำ พระพิมพ์รัศมี พระครูต่วน พระปิดตา พิมพ์สามเหลี่ยม พระครูต่วน วัดตาปะขาวหาย และ พระผงใบลาน หลวงพ่อฝ้าย วัดสนามชัย เหรียญพระพุทธชินราช ยอดนิยมเมืองพิษณุโลก ประกอบด้วย เหรียญ พระพุทธชินราช หลังอกเลา พ.ศ. ๒๔๖๐, เหรียญพระพุทธชินราช หลังหนังสือ สามแถว, หลังหนังสือห้าแถว พ.ศ. ๒๔๖๐, เหรียญ พระพุทธชินราช หลังพญานาค, เหรียญพระพุทธชินราช หลังงานกสิกรรม (ไถนา) พ.ศ. ๒๔๕๗
รูปหล่อ พระกริ่งยอดนิยมเมืองพิษณุโลก ประกอบด้วย พระกริ่งนเรศวร พ.ศ. ๒๕๐๗ (พล.ต.ต.ยรรยง สะท้านไตรภพ) พระกริ่งนเรศวรวังจันทร์ พ.ศ. ๒๕๑๕, พระชินราชอินโดจีน, พระกริ่งธรรมราชา พระกริ่งนางพญา (กริ่งวิสุทธิกษัตริย์) วัดนางพญา พ.ศ. ๒๕๑๔, พระกริ่งนเรศวรเผด็จศึก พ.ศ. ๒๕๒๒
เหรียญยอดนิยมชุดเล็ก เมืองพิษณุโลก ประกอบด้วย เหรียญจักรพรรดิ พ.ศ. ๒๕๑๕, เหรียญนเรศวร ๔๐๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๓, เหรียญชินราชใบเสมา พ.ศ. ๒๕๑๑, เหรียญโภคทรัพย์ (ขวัญถุง) นเรศวร (อุดชนวนพระกริ่งนเรศวร ๐๗), เหรียญพระพุทธชินราช หลัง ในหลวง ทรงผนวช พ.ศ. ๒๕๑๗
อย่างไรก็ตามระหว่างวันที่ ๑๕-๒๒ พฤษภาคม ๒๕๔๓ จ.พิษณุโลกได้จัด งาน ๔๐๐ ปี แห่งการสวรรคตสมเด็จพระนเรศวรมหาราช หนึ่งในกิจกรรมครั้งนี้ คือ นิทรรศการสุดยอดพระเครื่อง เมืองพิษณุโลก ถิ่นพระราชสมภพ เป็นครั้งแรกที่ชาวพิษณุโลก ชมรมพระเครื่องพุทธชินราชพิษณุโลกร่วมใจกัน นำพระเครื่องที่บรรจุกรุตามพระอารามของเมืองพิษณุโลกกว่า ๒๑ กรุ ณ พระราชวังจันทน์ จ.พิษณุโลก์Naresuan 2507 Phadejsuk
Phra Buddha Chinnaraj Bai Sema
Phra Buddha Chinnaraj Bai Sema, first founded at Wat Phra Srirattanamahathat (Wat Yai) Phitsanulok and became the one of Phra Benjaphaki (5 amulets) Metal version. Chinnaraj Bai Sema was made over 600-700 years ago. For this amulet has 3 size.
- Pim Yai includes Tan Soung and Tan Tai
- Pim Klang includes Tan Soung and Tan Tai
- Pim Lek includes Tan Soung and Tan Tai
Somdej Phra Jirada
พระสมเด็จจิตรลดา, พระกำลังแผ่นดิน พระพิมพ์ฝีพระหัตถ์ขององค์ประมุขของชาติ
ในช่วงเวลาก่อนที่จะทรงมีพระราชดำริ ให้สร้างพระพุทธนวราชบพิตร ในราวปีพุทธศักราช 2508 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ได้ทรงพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯ ให้นายไพฑรูย์ เมืองสมบูรณ์ ข้าราชการกองหัตถ์ศิลป์ กรมศิลปากรเข้ามาเป็นผู้แกะแม่พิมพ์ พระพุทธรูปพิมพ์นี้ในพระราชฐาน ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน และได้ทรงตรวจพระพุทธศิลป์ฯ ของพระพุทธรูปพิมพ์องค์นี้อย่างใกล้ชิด เพื่อให้ได้พุทธศิลป์ที่สมบูรณ์จนเป็นที่พอพระราชหฤทัย พระพุทธรูปพิมพ์ที่แกะถวายนั้นเป็นพระพุทธรูปพิมพ์ปางนั่งสมาธิแบบขัดราบ พระบาทขวาทับพระบาทซ้าย ประทับเหนือดอกบัวบาน บน 5 กลีบ ล่าง 4 กลีบ ตรงกับรัชกาลที่ 9 รูปทรงสามเหลี่ยมหน้าจั่ว ขนาดกว้าง 2 ซม. สูง 3 ซม. ส่วนพระพิมพ์องค์เล็กขนาดกว้าง 1.2 ซม. สูง 1.9 ซม. ทรงมีพระกระแสรับสั่งให้แกะแม่พิมพ์เพิ่มอีกภายหลังจากนั้นไม่มากนัก เพื่อพระราชประสงค์ในการพระราชทานให้แก่เด็กๆพระองค์ได้ทรงสร้างขึ้นด้วยพระหัตถ์ของพระองค์เองทั้งสิ้น ตั้งแต่การถอดแบบแม่พิมพ์ ทรงผสมมวลสาร ทรงเทลงแม่พิมพ์ ทรงตกแต่งองค์พระพิมพ์เพื่อให้ดูงดงามทั้งหมดนี้ โดยทรงใช้เวลาหลังจากพระอักษร และทรงงานอันเป็นพระราชภารกิจในตอนดึก ประกอบด้วยผงมงคลศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ ทั้งส่วนในพระองค์และวัตถุมงคลศักดิ์สิทธิ์จากทุกจังหวัด ที่พุทธศาสนิกชนทั่วพระราชอาณาจักรปฏิบัติบูชาสืบเนื่องกันมาเป็นเวลาช้านาน
พระราชประสงค์ ในการสร้างพระพุทธรูปพิมพ์นี้
ถวายพวงมาลัยดอกไม้สดจากประชาชนในการเสด็จพระราชดำเนิน เปลี่ยนเครื่องทรงพระพุทธปฏิมากรแก้วมรกต และได้ทรงแขวนไว้ ณ ที่บูชาองค์พระพุทธรูปปฏิมากรตลอดเทศกาล จนถึงคราวที่เสด็จพระราชดำเนินเปลี่ยนเครื่องทรงใหม่ ทรงเห็นเป็นสำคัญที่ควรเก็บดอกไม้แห้งเหล่านี้ไว้ให้เป็นประโยชน์ เพื่อเป็นสิริมงคล ประโยชน์ที่จะใช้ทรงมีพระราชวินิจฉัยว่า สมควรใช้เป็นส่วนผสมสำหรับสร้างเป็นพระพุทธรูปพิมพ์ โดยมีพระราชประสงค์เป็นเบื้องต้น เพื่อจะบรรจุที่ฐานบัวหงายขององค์พระพุทธนวราชบพิตร และพระราชทานแก่ข้าราชบริพารฝ่ายในที่ถวายงานใกล้ชิดเบื้องพระยุคลบาท รวมทั้งราชองค์รักษ์ประจำเท่านั้น
เพื่อให้ได้พุทธคุณ เพียงเฉพาะดอกไม้แห้งจากพวงมาลัยดังกล่าว คงไม่พอเพียงที่จะทำเป็นองค์พระได้ จะต้องมีส่วนผสมที่ประสานให้เป็นเนื้อเดียวกันและทรงเทพิมพ์ได้สวยงาม รวมทั้งวัตถุมงคล จากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั่วพระราชอาณาจักรด้วย จึงจะได้อำนาจแห่งพระพุทธคุณโดยสมบูรณ์ จึงทรงให้เจ้าพนักงานรวบรวมเส้นพระเจ้า (เส้นพระเกศา) หลังจากทรงเครื่องใหญ่ (ตัดผม) ดอกไม้แห้งจากมาลัยที่แขวนพระมหาเศวตฉัตร และด้ามพระขรรค์ชัยศรี ในพระราชพิธีฉัตรมงคล สีซึ่งขูดจากผ้าใบที่ทรงเขียนภาพฝีพระหัตถ์ ชัน และ สีซึ่งทรงขูดจากเรือใบพระที่นั่งขณะที่ทรงตกแต่งเรือใบพระที่นั่ง ส่วนผสมอันเป็นมงคลที่เรียกว่า ส่วนในพระองค์
ส่วนที่มาจากจังหวัดต่างๆ อันเป็นวัตถุมงคลที่ได้มาจากปูชนียสถาน หรือพระพุทธรูปอันศักดิ์สิทธิ์ที่ประชาชนเคารพบูชาในแต่ละจังหวัดอันได้แก่ ดิน หรือ ตะไคร่น้ำจากปูชนียสถาน เปลวทองคำ ปิดพระพุทธรูป ผงธูปหน้าที่บูชาและน้ำจากบ่อศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งได้เคยนำมาใช้เป็นน้ำสรงบูรธาภิเษก ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก